nursekingnarai hospital lopburi

19 ต.ค. 2554

ศูนย์สนับสนุนการอานวยการและการบริหารสถานการณ์ อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม (ศอส.)

1 ศูนย์สนับสนุนการอานวยการและการบริหารสถานการณ์อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม ท่าอากาศยานดอนเมือง

โทร. 0 2504 3584 0 2504 3563 โทรสาร. 02 504 3584 E-Mail : dpm_eoc@yahoo.com

โทร. 0 2637 3580 - 5 โทรสาร 0 2241 7450 - 6 สายด่วนนิรภัย 1784 E-Mail : operation@nirapai.com www.disaster.go.th

วันที่ 19 ต.ค. 54 เวลา 09.00 น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (ศปภ.) ท่าอากาศยานดอนเมือง นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย/รอง ผอ.ศอส. เป็นประธานการประชุม ศอส. ร่วมกับผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงสรุปสาระสำคัญของการประชุม เพื่อให้หน่วยที่เกี่ยวข้องใช้ประกอบการปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยต่อไป ดังนี้

1. สถานการณ์ปัจจุบัน

1.1 สถานการณ์ปัจจุบันยังคงมีพื้นที่ประสบอุทกภัย 27 จังหวัด ได้แก่ จ.สุโขทัย พิจิตร พิษณุโลก นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ปทุมธานี นนทบุรี อุบลราชธานี ขอนแก่น ศรีสะเกษ สุรินทร์ ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี ร้อยเอ็ด กาแพงเพชร ตาก มหาสารคาม และ จ.สมุทรสาคร 172 อาเภอ 1,372 ตาบล 10,196 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 806,027 ครัวเรือน 2,419,527คน และ มีผู้เสียชีวิต 317 ราย สูญหาย 3 คน (จ.แม่ฮ่องสอน 1 ราย จ.อุตรดิตถ์ 1 ราย จ.ขอนแก่น 1 ราย) (ข้อมูลจาก ปภ.)

1.2 ปริมาณน้ำฝนในรอบ 24 ชม. ฝนตกสูงสุดที่ อบต.ทุ่ง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี ปริมาณน้ำฝน166.0 มม.

1.3 ความเสียหาย


1.3.1 ด้านการเกษตร พื้นที่การเกษตรคาดว่าจะเสียหาย 10,301,830 ไร่ พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำคาดว่าจะเสียหาย บ่อปลา 158,741 บ่อ/กระชัง ด้านปศุสัตว์ สัตว์ได้รับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 12,331,589 ตัว (ข้อมูลกระทรวงเกษตรและสหกรณ์)


1.3.2 การคมนาคม


ทางหลวง เส้นทางที่ไม่สามารถสัญจรได้ 75 สาย ใน 17 จังหวัด (สอบถามเพิ่มเติม ที่สายด่วน 1586)


ทางหลวงชนบท เส้นทางที่ไม่สามารถสัญจรได้ 196 สาย ใน 29 จังหวัด (สอบถามเพิ่มเติม ที่สายด่วน 1146)


การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟฯ ได้ประกาศงดเดินรถในเส้นทางสายเหนือ 18 ขบวน ส่วนขบวนรถสายตะวันออกเฉียงเหนือ การรถไฟฯ ได้เปลี่ยนเส้นทางให้ไปเดินในช่วงกรุงเทพ-มักกะสัน-ฉะเชิงเทรา เพื่อไปยังชุมทางแก่งคอยและไปยังปลายทางหนองคายและอุบลราชธานี ทั้งนี้ขบวนรถไฟสายอีสานจะไม่ผ่านสถานีสามเสน บางซื่อ หรือดอนเมือง ผู้โดยสารต้องเดินทางมาที่สถานีกรุงเทพ (หัวลาโพง) เท่านั้น (สอบถามเพิ่มเติม ที่สายด่วน 1690)


การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ปิดการจราจร จำนวน 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางด่วนขาออก เชียงราก-ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต รถขนาดเล็กไม่สามารถผ่านขึ้น-ลงได้ เนื่องจากพื้นราบมีระดับน้ำท่วมขังประมาณ 30 ซม. และทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด ตั้งแต่ กม. 22- กม.29 น้าท่วมสูงประมาณ 70-80 ซม. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ประสานงานการปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยของ กทพ. EXAT Call Center โทร. 1543 ตลอด 24 ชม.


บริษัทขนส่ง จำกัด (บขส.) เส้นทางสายเหนือใช้ทางเลี่ยง บางบัวทอง-สุพรรณบุรี-อ่างทอง และเส้นทางผ่าน จ.นครสวรรค์ เลี่ยงใช้เส้นทาง อ.ตากฟ้า และ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ (สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ที่สายด่วน 1490 เรียก บขส. ตลอด 24 ชม.)


บริษัทขนส่งมวลชน จำกัด ได้จัดรถ ขสมก. รับส่งผู้โดยสารที่ประสบอุทกภัยไปยังศูนย์พักพิงชั่วคราวในพื้นที่ต่างๆ และรับส่งอาสาสมัคร จาก ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ไปยัง ดอนเมือง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ และ ม.ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์


1.4 การปฏิบัติการช่วยเหลือที่สำคัญ


ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบัญชาการกองทัพไทย จัดตั้ง ศบภ.บก.ทท.สน. เพื่อประสานงาน ศปภ. (ดอนเมือง)


1.4.1 ศบภ.นทพ. จัดกำลังพล 691 คน พร้อมยานพาหนะ 141 คัน เครื่องจักรกล 46 คัน เรือ 83 ลำ รถครัวสนาม 1 คัน รถประปาสนาม 1 คัน รถเสบียง 1 คัน ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ 12 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา พิษณุโลก พิจิตร อุตรดิตถ์ อุทัยธานี สิงห์บุรี อ่างทอง และ จ.ลพบุรี


ผลักดันน้าในคลองลาดกระบัง คลองบางโฉลง คลองจระเข้ใหญ่ คลองบางเสาธง และคลองพระองค์เจ้าไชยานุชิต อ.บางบ่อ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ และคลองลาปลาทิว เขตลาดกระบัง กทม. รวม 12 เครื่อง


จัดกำลังพล และยุทโธปกรณ์ พร้อม รยบ.สัมภาระ ขนย้ายเรือท้องแบนติดเครื่องยนต์ 4 ลา เรือท้องแบนลากจูง 2 ลา รับ-ส่ง ราษฎรในพื้นที่หมู่บ้านบางบัวทองเคหะเรือนไทย อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี บรรจุกระสอบทราย 300 ถุง และขนส่งพืชอาหารสัตว์ (หญ้ารูซี) จานวน 25 ตัน พร้อมทั้งได้ขุดลอกคลองลาดกระบัง คลองพระยาสุนทรสมุทร คลองพระยาอรรคราช และคลองกัญญา


1.4.2 ศบภ.ทบ. จัดกาลังพล 12,750 นาย รยบ. 1,060 คัน รถโกยตัก 18 คัน รถพ่วงชานต่า 12 คัน บองโก้ 2 คัน เรือทุ่น 3 ลา รถครัวสนาม 5 คัน รถน้า 20 คัน เรือตรวจการณ์พลังลม 2 ลา เรือยนต์บรรทุกขนาด 90 ฟุต (ผลักดันน้า) 10 ลา และเรือท้องแบน 2,450 ลา ชุดแพทย์เคลื่อนที่ 7 ชุด ชุดฟื้นฟูสภาพจิตใจ 8 ชุด อากาศยาน 4 ลา ในพื้นที่ 3 จังหวัด (จ.พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ศูนย์สนับสนุนการอานวยการและการบริหารสถานการณ์ อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม (ศอส.)


2 ศูนย์สนับสนุนการอานวยการและการบริหารสถานการณ์อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม ท่าอากาศยานดอนเมือง


โทร. 0 2504 3584 0 2504 3563 โทรสาร. 02 504 3584 E-Mail : dpm_eoc@yahoo.com

โทร. 0 2637 3580 - 5 โทรสาร 0 2241 7450 - 6 สายด่วนนิรภัย 1784 E-Mail : operation@nirapai.com www.disaster.go.th และนนทบุรี) และขุดลอกคลองงิ้วราย อ.นครชัยศรี คลองทรงคะนอง และคลองท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม


1.4.3 ศบภ.ทร. จัดกำลังพล พร้อมเรือ และยุทโธปกรณ์ บูรณาการการปฏิบัติของหน่วยงานต่างๆ ในการผลักดันน้าในแม่น้าเจ้าพระยาที่ไหลจากตอนเหนือของประเทศออกสู่ทะเล และจัดเครื่องผลักดันน้า 3 ชุด วางกำลังผลักดันน้าบริเวณคลองลัดโพธิ์ (ด้านใต้) โดยปฏิบัติงานร่วมกับการท่าเรือแห่งประเทศไทย และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย


1.4.4 ศบภ.ทอ. จัดกำลังพล 486 นาย และยุทโธปกรณ์เข้าช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ อบต.บ้านใหม่ อ.เมือง อ.บางบัวทอง จ.ปทุมธานี หมู่บ้านการ์เด็นโฮม กทม. อบต.รางจระเข้ อ.เสนา อ.มหาราช อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา ช่วยบรรจุสิ่งของบริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ที่สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 รับ – ส่ง จนท. ผู้ป่วย และอุปกรณ์ทางการแพทย์ของ รพ.บางไทร อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา ลาเลียงสิ่งของบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง กทม. รับ – ส่ง ประชาชนแทนรถประจาทางที่หมู่บ้านนภาวัลย์ เขตสายไหม กทม. สนับสนุนการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ อ.สามโคก จ.ปทุมธานี บรรจุกระสอบทราย ทาพนังกั้นน้าในเขตพื้นที่ อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี บรรจุกระสอบทรายทาพนังกั้นน้าในเขตพื้นที่คลองหกล่าง จ.ปทุมธานี ลาเลียงเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วย และอุปกรณ์ทางการแพทย์ รพ.สามโคก อ.สามโคก จ.ปทุมธานี ลาเลียงถุงยังชีพ จำนวน 1,000 ถุง และอาหารพร้อมรับประทาน จานวน 1,000 ชุด ไปให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี ร่วมกับ บ.เดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด


1.4.5 กรมการปกครอง 1) ได้มอบหมายผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็นนายอำเภอ ไปช่วยอำนวยการใน จ.พระนครศรีอยุธยา นครสวรรค์ นนทบุรี ปทุมธานี และ จ.ลพบุรี และ 2) รับเรื่องราวร้องทุกข์ 17 จว. ยอดสะสมวันที่ 9-18 ต.ค. 54 มี 3,254 เรื่อง แก้ไขแล้ว 2,826 เรื่อง


1.4.6 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้นาแพไม้ไผ่ จานวน 400 หลัง มามอบไว้ให้ ศปภ. ใช้งาน ในพื้นที่อุทกภัย


1.4.7 กระทรวงสาธารณสุข จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ 6,550 ครั้ง ผู้รับบริการสะสม 668,684 ราย โรคที่พบ 5 อันดับแรก (น้ากัดเท้า ปวดกล้ามเนื้อ ไข้หวัด ผิวหนัง และปวดศีรษะ) และการประเมินสุขภาพจิต ได้ดาเนินการแล้ว 36 จังหวัด เยี่ยมครอบครัวผู้เสียชีวิต จำนวน 200 ครอบครัว มียอดรวม 93,234 พบว่ามีความเครียดสูง 3,857 ราย ภาวะซึมเศร้า 5,493 ราย มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 765 ราย และต้องดูแลพิเศษ 1,162 ราย (คงเดิม) สนับสนุนยาและเวชภัณฑ์ 1,544,250 ชุด ยาตาราหลวง 104,500 ชุด ยารักษาน้ากัดเท้า 245,000 หลอด


1.4.8 สพฉ. ได้สนับสนุนการลาเลียงผู้ป่วยทางอากาศ โดยเฮลิคอปเตอร์ 41 ราย เครื่องบินฝนหลวง 57 ราย รถยนต์ (เฉพาะผู้ป่วยหนัก) 179 ราย เรือ 343 ราย รวมทั้งสิ้น 620 ราย พร้อมทั้งใช้ ฮ. กระทรวงทรัพยากรฯ บินประเมินสถานการณ์น้าท่วม 12 เที่ยว และใช้เครื่องบินฝนหลวง (CASA) ขนแพทย์/พยาบาล/อุปกรณ์การแพทย์/เวชภัณฑ์ และถุงยังชีพ 5 เที่ยว พร้อมทั้งใช้ ฮ. กระทรวงเกษตรฯ ลาเลียงยา และเวชภัณฑ์ 1 เที่ยว


1.4.9 กรมประชาสัมพันธ์ ได้จัดทีมข่าวประจาอยู่ที่ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี, ตลาดไท, ประตูน้าจุฬาลงกรณ์ และทีมข่าวติดตามผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครตรวจดูแนวป้องกันน้า พื้นที่เสี่ยงภัย ติดตามสถานการณ์ที่พระนครศรีอยุธยา จัดทาข่าวแจกเกี่ยวกับสถานการณ์น้าท่วมให้กับสื่อมวลชนและหน่วยงานต่างๆ ภายใน ศปภ. และข่าวแจกภาษาอังกฤษ เข้าชมที่ http://thailand.prd.go.th


1.4.10 กรมทรัพยากรน้าบาดาล ดาเนินการให้ความช่วยเหลือประชาชนโดยการแจกจ่ายน้าสะอาดในพื้นที่ประสบอุทกภัย (18 ต.ค. 54) จานวน 89,181 ลิตร รวมปริมาณน้าที่ได้แจกจ่ายไปแล้ว 3,946,746 ลิตร เปิดจุดแจกจ่ายน้าสะอาด จานวน 50 แห่ง ในพื้นที่ประสบอุทกภัย 13 จังหวัด และสนับสนุนรถบรรทุก 6 ล้อ 4 คัน ช่วยอพยพผู้ประสบภัย และขนย้ายสิ่งของในพื้นที่อาเภอบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา


1.4.11 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รายงานผลการสารวจข้อมูลครัวเรือนที่จะได้รับการช่วยเหลือครัวเรือนละ 5,000 บาท ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 27 ก.ย. 54 อนุมัติในหลักการในการดาเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (กรณีอุทกภัย) ครัวเรือนละ 5,000 บาท (เพิ่มเติม) ครั้งที่ 3 ใน 36 จังหวัด กรอบครัวเรือน จานวน 334,039 ครัวเรือน เป็นเงิน 1,670,195,000 บาท โดยกรม ปภ. ได้มีหนังสือแจ้งไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด ดาเนินการตรวจสอบความถูกต้อง และส่งข้อมูลรายละเอียดจานวนครัวเรือน ที่ขอรับการช่วยเหลือมายังกรม ปภ. ภายในวันที่ 28 ต.ค. 54 ทั้งนี้ ปภ. ได้รวบรวมรายชื่อส่งธนาคารออมสินแล้ว 296,242 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 88.68 ทั้งนี้ธนาคารออมสินได้จ่ายเงินแล้ว116,532 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 39.34 ( ข้อมูลวันที่ 18 ต.ค. 54)


2. การคาดหมายสถานการณ์และการเฝ้าระวัง


2.1 กรมอุตุนิยมวิทยา บริเวณความกดอากาศสูงกาลังปานกลางจากประเทศจีนได้แผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยแล้ว ทาให้บริเวณประเทศไทยตอนบนมีฝนลดลงและอุณหภูมิจะลดลง 2-4 องศา สาหรับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้ ทาให้บริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝนเพิ่มมากขึ้น ส่วนอ่าวไทยมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร ในช่วงวันที่ 19-23 ต.ค. ขอให้ประชาชนบริเวณภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระมัดระวังสุขภาพเนื่องจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง


2.2 กรมชลประทาน


- ลุ่มน้ายม ยังคงมีน้าล้นตลิ่งที่ อ.บางระกา จ.พิษณุโลก 3.94 เมตร ลดลง อ.สามง่าม อ.โพทะเล อ.โพธิ์ประทับช้าง จ.พิจิตร 0.79 เมตร มีแนวโน้มลดลง


3 ศูนย์สนับสนุนการอานวยการและการบริหารสถานการณ์อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม ท่าอากาศยานดอนเมือง


โทร. 0 2504 3584 0 2504 3563 โทรสาร. 02 504 3584 E-Mail : dpm_eoc@yahoo.com


โทร. 0 2637 3580 - 5 โทรสาร 0 2241 7450 - 6 สายด่วนนิรภัย 1784 E-Mail : operation@nirapai.com www.disaster.go.th


- ลุ่มน้ำน่าน ยังคงมีน้าล้นตลิ่งที่ อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์ 0.07 เมตร ปริมาณน้าไหลผ่าน 1,541 ลบ.ม./วินาที มีแนวโน้มลดลง


- ลุ่มน้ำมูล มีน้าล้นตลิ่งที่ อ.โชคชัย อ.พิมาย จ.นครราชสีมา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.คูเมือง อ.สตึก เพิ่มขึ้น จ.บุรีรัมย์ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.ราษีไศล อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ เพิ่มขึ้น อ.ตระการพืชผล อ.เมือง จ.อุบลราชธานี มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.ด่านขุนทด ลดลง อ.ปักธงชัย อ.โนนไทย อ.จักราช เพิ่มขึ้น จ.นครราชสีมา อ.ลาปลายมาศ ลดลง อ.สตึก อ.กระสัง จ.บุรีรัมย์ เพิ่มขึ้น อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด มีแนวโน้มลดลง อ.ห้วยทับทัน อ.ขุขันธ์ อ.อุทุมพรพิสัย อ.เมือง อ.พยุห์ อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น


- ลุ่มน้ำชี ยังคงมีน้าล้นตลิ่งที่ อ.มัญจาคีรี อ.เมือง จ.ขอนแก่น มีแนวโน้มลดลง อ.โกสุมพิสัย อ.เมือง จ.มหาสารคาม มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.จังหาร อ.ทุ่งเขาหลวง จ.ร้อยเอ็ด เพิ่มขึ้น อ.เมือง อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร เพิ่มขึ้น อ.น้าพอง จ.ขอนแก่น มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ แนวโน้มลดลง


- ลุ่มน้ำสะแกกรัง มีน้าล้นตลิ่ง อ.เมือง จ.อุทัยธานี 0.28 เมตร แนวโน้มลดลง


- ลุ่มน้ำป่าสัก ยังคงมีน้าล้นตลิ่งที่ อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ 0.57 เมตร แนวโน้มลดลง


- ลุ่มน้ำปราจีนบุรี ยังคงมีน้าล้นตลิ่ง ที่ อ.กบินทร์บุรี อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น


- ลุ่มน้ำท่าจีน มีน้าล้นตลิ่งที่ อ.เมือง อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี อ.บางเลน อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม แนวโน้มลดลง


- ลุ่มน้าเจ้าพระยา ยังมีน้าล้นตลิ่ง ที่ อ.เมือง จังหวัดนครสวรรค์ +0.54 เมตร ปริมาณน้าผ่าน 4,452 ลบ.ม./วินาที (ลดลง) เขื่อนเจ้าพระยา มีระดับน้าหน้าเขื่อน 17.71 ม.รทก.ปริมาณน้าผ่าน 3,610 ลบ.ม./วินาที (ลดลง) ล้นตลิ่งที่ต่าริมแม่น้า จ.อุทัยธานี จ. ชัยนาท จ. สิงห์บุรี +1.27 เพี่มขึ้น จ.ลพบุรี จ. อ่างทอง -0.07 จ.สุพรรณบุรี จ.พระนครศรีอยุธยา +1.26 ลดลง จ.สระบุรี จ.ปทุมธานี +0.95 จ.นนทบุรี +0.17 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปริมาณน้าผ่าน อ.บางไทร จ. พระนครศรีอยุธยา+0.04 ปริมาณน้าผ่าน 3,736 ลบ.ม./วินาที


- สถานการณ์น้าเขื่อนเก็บน้าขนาดใหญ่


เขื่อนภูมิพล มีปริมาณน้า 99 % ปริมาณน้าเข้า 90 ล้าน ลบ.ม. ระบายออก 60 ล้าน ลบ.ม. (694 ลูกบาศก์เมตร/วินาที) รับได้อีก 31 ล้าน ลบ.ม.


เขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้า 99 % ปริมาณน้าเข้า 29 ล้าน ลบ.ม. ระบายออก 10 ล้าน ลบ.ม.(116 ลูกบาศก์เมตร/วินาที) รับได้อีก 70 ล้าน ลบ.ม


เขื่อนแควน้อย มีปริมาณน้า 100 % ปริมาณน้าเข้า 10 ล้าน ลบ.ม. ระบายออก 8.6 ล้าน ลบ.ม.(99 ลูกบาศก์เมตร/วินาที) (เมื่อวาน)


เขื่อนป่าสัก มีปริมาณน้า 138 % ปริมาณน้าเข้า 45 ล้าน ลบ.ม. ระบายออก 26 ล้าน ลบ.ม.(300 ลูกบาศก์เมตร/วินาที) (เมื่อวาน)


เขื่อนนเรศวร ระบายผ่าน 615 ลูกบาศก์เมตร/วินาที


เขื่อนพระรามหก ระบายผ่าน 628 ลบ.ม./วินาที


เขื่อนอุบลรัตน์ มีปริมาณน้า 119 % ปริมาณน้าเข้า 37 ล้าน ลบ.ม. ระบายออก 50 ล้าน ลบ.ม. (590 ลูกบาศก์เมตร/วินาที)


เขื่อนลาปาว มีปริมาณน้า 100 % ปริมาณน้าเข้า 18 ล้าน ลบ.ม. ระบายออก 10 ล้าน ลบ.ม. (116 ลูกบาศก์เมตร/วินาที)


2.3 กรุงเทพมหานคร ปริมาณน้าฝน 24 ชม. - ไม่มี - วันที่ 18 ต.ค.54 ระดับน้าของแม่น้าเจ้าพระยาสูงสุด ณ ปากคลองตลาด เวลา 11.15 น. ระดับน้า 2.05 ม.รทก. ยังต่ากว่าระดับแนวป้องกัน 75 ซม. ไม่มีผลกระทบกับพื้นที่ กทม. และวันนี้ (19 ต.ค.54) น้าทะเลหนุนสูงสุดเวลาประมาณ 13.02 น. คาดว่าจะต่ากว่าในช่วงเช้า จะไม่มีผลกระทบกับพื้นที่ภายในแนวป้องกันของ กทม. แต่ต้อง เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด สภาพน้าในคลองสายหลักในพื้นที่อยู่ในสภาวะปกติ ระดับน้าแนวคันกั้นน้าของ กทม. เทียบกับเมื่อวานนี้เพิ่มขึ้นเล็กน้อย 1-2 ซม. สาหรับพื้นที่ที่มีน้าท่วม ประกอบด้วย ชุมชน ริมแม่น้าเจ้าพระยา ซึ่งอยู่นอกแนวป้องกัน และพื้นที่ด้านตะวันออกนอกแนวคั้นกั้นน้า บริเวณเขตมีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง และคลองสามวา ต้องเฝ้าระวังปริมาณน้าจากคลองระพีพัฒน์


ทั้งนี้ กทม. ได้กาหนดศูนย์อพยพเป็นโรงเรียน 158 แห่ง ใน 24 เขต สามารถรองรับผู้อพยพได้ 35,805 คน โดยสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้าท่วม กทม. 0-2248-5115 หรือสายด่วน กทม.1555 ตลอด 24 ชม. หรือที่เว็บไซต์ http://dds.bangkok.go.th


2.4 กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ วันที่ 19 ต.ค. 54 น้ำขึ้น 2 ครั้ง ในเวลา 13.02 น. คาดว่าจะสูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 2.03 ม. และในเวลา 20.19 น. คาดว่าจะสูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1.96 ม. และจากปริมาณการระบายน้า ในปัจจุบันคาดว่าในช่วงน้าทะเลหนุนสูงในวันที่ 27-31 ต.ค. 54 จะสูงกว่าระดับทะเลปานกลางประมาณ 2.30-2.35 ม.

ข่าวสถานการณ์น้ำกรมชลประทาน

ข่าวสถานการณ์น้ำกรมชลประทาน 21 ต.ค.54
ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โทร.สายด่วน 1460 / E- mail : wmsc.1460@gmail.com / http://water.rid.go.th/wmsc
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สถานการณ์น้ำเจ้าพระยา : เจ้าพระยาตอนบนลดลงต่อเนื่อง/ ขอความเห็นใจร่วมกันจัดการน้ำหลาก
ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ รายงานสถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา (21 ต.ค. 54) ที่จังหวัดนครสวรรค์ มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 4,308 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ลดลงจากวานนี้ 72 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 46 เซนติเมตร มีปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท 3,554 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ลดลงจากวานนี้ ระดับน้ำเหนือเขื่อน สูงกว่าระดับตลิ่ง 64 เซนติเมตร ระดับน้ำท้ายเขื่อนสูงกว่าตลิ่ง 1.14 เซนติเมตร
สำหรับจังหวัดสิงห์บุรี มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 2,905 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ลดลงจากวานนี้เล็กน้อย ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 1.25 เมตร จังหวัดอ่างทอง มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 2,643 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ลดลงจากวานนี้เล็กน้อย ระดับน้ำต่ำกว่าตลิ่ง 9 เซนติเมตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,465 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ลดลงจากวานนี้เล็กน้อย ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 1.23 เมตร ส่วนที่อ.บางไทร มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 3,669 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ลดลงจากวานนี้ 57 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 11 เซนติเมตร
แนวโน้มสถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา เนื่องจากปริมาณน้ำที่จังหวัดนครสวรรค์ลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ปริมาณน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างเริ่มลดลง แต่ยังคงมีน้ำที่ขังอยู่ในทุ่งจำนวนมากไหลลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้ปริมาณน้ำในพื้นที่ตอนล่างบริเวณจังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา จะยังอยู่ในระดับทรงตัวและลดลงในระยะต่อๆไป หากไม่มีฝนตกหนักลงมาเพิ่มเติมการระบายน้ำออกสู่ทะเลจะเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น
          สำหรับสถานการณ์น้ำในคลองระพีพัฒน์ นั้น เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมในพื้นที่ฝั่งตะวันออกตอนล่างของแม่น้ำเจ้าพระยา กรมชลประทาน ได้ปิดการรับน้ำเข้าคลองระพีพัฒน์แล้ว พร้อมทั้ง ได้เร่งระบายน้ำตามคลองต่างๆ ให้ไหลออกสู่ทะเลอ่าวไทยให้เร็วที่สุด
อย่างไรก็ตาม การเร่งระบายน้ำออกทางทะเลอ่าวไทย ในหลายจุดยังประสบภัยปัญหาความไม่เข้าใจของประชาชนในบางพื้นที่ ทำให้การระบายน้ำเพื่อเร่งระบายน้ำในพื้นที่ตอนบนของกรุงเทพฯ ลงสู่ทางตอนล่าง ก่อนที่จะเร่งสูบและระบายลงทะเลอ่าวไทยโดยลำดับ เป็นไปได้ด้วยความยากลำบาก
กรมชลประทาน จึงขอความร่วมมือจากประชาชนให้ร่วมแรงร่วมใจกัน พร้อมกับสนับสนุนให้การบริหารจัดการน้ำเหนือที่กำลังไหลหลากอยู่ในขณะนี้ เป็นไปด้วยความราบรื่น แม้ว่าอาจจะได้รับผลกระทบบ้างจากการดำเนินงานดังกล่าว แต่เพื่อไม่ให้เกิดผลเสียหายที่เกินจะคาดคิด จึงขอความเห็นใจและยินยอมให้การดำเนินการเร่งระบายน้ำในครั้งนี้เป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้ด้วย จักขอบพระคุณยิ่ง
**********************************
21 ตุลาคม 255

ข่าวสถานการณ์น้ำกรมชลประทาน
ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โทร.สายด่วน 1460 / E- mail : wmsc.1460@gmail.com / http://water.rid.go.th/wmsc
----------------------------------------------------------------------------------------------------
สถานการณ์น้ำเจ้าพระยา : เจ้าพระยาตอนล่างทรงตัว เริ่มลดลงบางแห่ง

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ รายงานสถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา (19 ต.ค. 54) ที่จังหวัดนครสวรรค์ มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 4,452 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ลดลงจากวานนี้ 72 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 54 เซนติเมตร มีปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท 3,610 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ทรงตัวจากวานนี้ ระดับน้ำเหนือเขื่อน สูงกว่าระดับตลิ่ง 71 เซนติเมตร ระดับน้ำท้ายเขื่อนสูงกว่าตลิ่ง 1.21 เซนติเมตร
สำหรับจังหวัดสิงห์บุรี มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 2,910 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เพิ่มขึ้นจากวานนี้ 15 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 1.26 เมตร จังหวัดอ่างทอง มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 2,656 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เพิ่มขึ้นจากวานนี้เล็กน้อย ระดับน้ำต่ำกว่าตลิ่ง 6 เซนติเมตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,471 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ลดลงจากวานนี้ ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 1.25 เมตร ส่วนที่อ.บางไทร มีปริมาณน้ำไหลผ่าน 3,755 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ลดลงจากวานนี้ 21 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 7 เซนติเมตร
แนวโน้มสถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา เนื่องจากปริมาณน้ำที่จังหวัดนครสวรรค์ลดลงอย่างต่อเนื่องช้าๆ ส่งผลให้ปริมาณน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างทรงตัวและเริ่มลดลงบางพื้นที่ ทั้งนี้ ถึงแม้ว่าปริมาณน้ำจะลดลงแต่ยังคงมีปริมาณน้ำในทุ่งต่างๆ ที่จะไหลลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งจะทำให้ปริมาณน้ำในพื้นที่ตอนล่างบริเวณจังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา อยู่ในระดับทรงตัวไปอีกสักระยะหนึ่ง หากไม่มีฝนตกหนักลงมาเพิ่มเติมการระบายน้ำออกสู่ทะเลจะเริ่มคลี่คลายไปในทิศทางที่ดีขึ้นในระยะต่อๆไป     สำหรับสถานการณ์น้ำในคลองระพีพัฒน์ ที่แบ่งรับน้ำจากแม่น้ำป่าสัก เพื่อระบายลงสู่คลองต่างๆ ก่อนระบายออกสู่แม่น้ำนครนายก แม่น้ำบางปะกง และทะเลอ่าวไทย นั้น เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมในพื้นที่ฝั่งตะวันออกตอนล่างของแม่น้ำเจ้าพระยา กรมชลประทานได้ปิดการรับน้ำเข้าคลองระพีพัฒน์แล้ว พร้อมทั้งได้เร่งระบายน้ำตามคลองต่างๆ ให้ไหลออกสู่ทะเล
อ่าวไทยให้เร็วที่สุด
**********************************
19 ตุลาคม 2554